วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

วิชาภาษาจีน

  1. 1. บันทึกหน่วยการเรียนรู้และกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การสะกดพินอิน เวลา 5 ชั่วโมง รายวิชา ภาษาจีน1 รหัส จ 20201 ระดับชั้น ม.1 (วิชาเลือก) 2) ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 2 ระบุสัทอักษรตามระบบพินอิน และประสมเสียงคาง่าย ๆตามหลักการออกเสียง ผลการเรียนรู้ 4 ตอบคาถามง่าย ๆ จากการฟัง ผลการเรียนรู้ 7 พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้น ๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ผลการเรียนรู้ 6 พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัวและสิ่งใกล้ตัว 3) ความคิดรวบยอด พูดโต้ตอบสั้นๆ ด้วยถ้อยคาสุภาพ อ่านออกเสียงคา วลี ข้อความ และบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง อีกทั้งเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องคา วลี สานวน ประโยค ข้อความต่างๆ และนาไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 4) สาระการเรียนรู้ ความรู้(K) – พูดโต้ตอบ – อ่านออกเสียง – เข้าใจ ทักษะกระบวนการ(P) – ถ้อยคาสุภาพตามมารยาท – คา วลี ข้อความ และบทความ – ความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) – รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ – ซื่อสัตย์สุจริต 5) สมรรถนะของผู้เรียน – ความสามารถในการจดจา – ความสามารถในการสนทนา 6) ชิ้นงาน/ภาระงาน – พูดสนทนาโต้ตอบ -บอกลักษณะร่างกายของตนเอง เพื่อน และครอบครัวตามบทเรียน
  2. 2. 7) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 -2 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทักทายนักเรียน 2. ครูสอนเกี่ยวกับการบอกชั้นในห้องเรียน 3. อธิบายซ้าหลาย ๆ ครั้งเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนเข้าใจ ขั้นสอน/ฝึกปฏิบัติ 1. ครูสอนวิธีอ่านพยัญชนะในภาษาจีนทั้งหมด 2. ให้นักเรียนฝึกอ่านด้วยตนเองซ้าไปมา 3. สอนเสียงสระจานวน 6 ตัว 4. ให้นักเรียนฝึกอ่านด้วยตนเองซ้าไปมา 5. อธิบายนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน b-h กับสระ ทั้ง 6 ตัว เช่น ba mo de ni gu lü ชั่วโมงที่ 3-4 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทักทายนักเรียน 2. ให้นักเรียนอ่านทบทวนพยัญชนะและสระที่เรียนมาทั้งหมด b p m f p t n l g k h j q x z c s zh ch sh r y w a o e I u ü
  3. 3. ขั้นสอน/ฝึกปฏิบัติ 1. ทบทวนวิธีการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน b-h กับสระ ทั้ง 6 ตัว 2. อธิบายเกียวกับการผันเสียงในภาษาจีน เช่น bā bá bǎ bà 3. ให้นักเรียนฝึกผันเสียง ซ้า ๆ ไปมา จนแน่ใจว่านักเรียนเริ่มคล่อง 4. เล่นเกมส์ โดยให้คะแนนนักเรียนที่สามารถเขียนตามคาบอกพินอินได้อย่างถูกต้อง ตามหลักการประสม คา 5. สอนเสียงสระเพิ่มให้ครบทั้งหมด โดยอธิบายหลักการออกเสียงที่ถูกต้อง เช่น ai มาจาก เสียง a + i = ai 6. ให้นักเรียนฝึกอ่านด้วยตนเองทั้งหมดซ้าไปมาหลาย ๆ ครั้ง 7. ให้ภาระงานนักเรียน ท่องพยัญชนะ และสระทั้งหมด ชั่วโมงที่ 5-6 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทักทายนักเรียน 2. ให้นักเรียนอ่านทบทวนพยัญชนะและสระที่เรียนมาทั้งหมด ขั้นสอน/ฝึกปฏิบัติ 1. ทบทวนวิธีการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน b-h กับสระ ทั้งหมด 2. ครูอธิบายการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน j-x กับสระ ทั้งหมด เช่น j q x ใช้ได้กับสระ i และ ü หรือสระผสมที่ขึ้นต้นด้วย i และ ü เท่านั้น เช่น ji jü qi xüe หมายเหตุ เนื่องจาก j q x ไม่สามารถผสมกับสระอื่นได้นอกจาก i และ ü ดังนั้นเวลาเขียน สระ ü จึงไม่นิยมใส่ จุด เช่น ju quan xue 3. ตั้งคาถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจหลักเกณฑ์ เช่น j q x ประสมกับสระ aได้ไหม เพราะอะไร 4. ครูอธิบายการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน z-r กับสระ ทั้งหมด เช่น z c s zh ch sh r ไม่สามารถใช้ผสมได้กับสระ ü หรือสระผสมที่ ขึ้นต้นด้วย i และ ü เท่านั้น เช่น ji jü qi xüe
  4. 4. หมายเหตุ z c s zh ch sh r ผสมได้กับสระ i อ่านว่าออกเสียงเป็น “อือ” เช่น zi ci si shi 5. ตั้งคาถามนักเรียกรนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจหลักเกณฑ์ เช่น zh ประสมกับสระ aได้ไหม เพราะอะไร และ zh ประสมกับสระ ia ได้ไหม เพราะอะไร 6. เล่นเกมส์เขียนตามคาบอกบนกระดาน ชั่วโมงที่ 7-8 1. ครูทักทายนักเรียน 2. ให้นักเรียนอ่านทบทวนพยัญชนะและสระที่เรียนมาทั้งหมด ขั้นสอน/ฝึกปฏิบัติ 1. ทบทวนวิธีการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน กับสระ ทั้งหมด 2. ตั้งคาถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจหลักเกณฑ์การประสมคา เช่น j q x ประสมกับสระ aได้ไหม เพราะอะไร 3. ครูอธิบายการประสมเสียงพยัญชนะ ในภาษาจีน y-w กับสระ ทั้งหมด เช่น y+a=ya w+a=wa y+e=ye w+o=wo y+in=yin w+u=wu y+ing=ying w+ai=wai y+ao=yao w+an=wan y+an=yan w+ang=wang y+ang=yang y+a=yong y+u=yu y+=yue y+a=yun y+a=yuan
  5. 5. 4. ตั้งคาถามนักเรียกรนเพื่อให้นักเรียนเข้าใจหลักเกณฑ์ เช่น y ประสมกับสระ aได้ไหม เพราะอะไร และ w ประสมกับสระ ü ได้ไหม เพราะอะไร 5. เล่นเกมส์เขียนตามคาบอกบนกระดาน 8) ขั้นสรุปการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนคาศัพท์และประโยคต่างๆ ทั้งหมดในบทเรียน 2. นักเรียนสนทนาคู่เกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียน 9) การวัดและประเมินผล การประเมินผล เกณฑ์การประเมิน 4 3 2 1 การพูด สื่อสารได้ตรงประเด็น เนื้อหาถูกต้องตามหัวข้อ ที่กาหนด ออกเสียง ถูกต้องใช้คาศัพท์ สานวน และโครงสร้าง ภาษาถูกต้อง สื่อสารได้ตรง ประเด็น เนื้อหาถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ ออกเสียงได้ ถูกต้อง สื่อสารได้ตรง ประเด็นเป็น บางส่วน เนื้อหา และการออกเสียง ถูกต้องเป็นบางส่วน สื่อสารได้ เนื้อหาน้อย ออกเสียง ไม่ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ การประเมินสาระการเรียนรู้ 1) การประเมินความรู้ (K) วิธีประเมิน เกณฑ์การพูดสนทนา เกณฑ์การอ่านออกเสียง 2) การประเมินทักษะกระบวนการ/ตัวบ่งชี้พฤติกรรม (P) วิธีประเมิน เกณฑ์การประเมินไวยากรณ์และการสะกดคา 3) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) วิธีประเมิน เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10) แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ – คอมพิวเตอร์, โทรทัศน์ – ใบความรู้ – ซีดีประกอบการฟัง – แบบฝึกคัดตัวอักษรจีน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น